ภาษาบาลี
หลักการอ่านภาษาบาลีมีดังนี้
๑. พยัญชนะตัวใดโดๆ ไม่มีสระกำกับอยู่ ให้อ่านออกเสียงสระ อะ
หลักการอ่านภาษาบาลีมีดังนี้
๑. พยัญชนะตัวใดโดๆ ไม่มีสระกำกับอยู่ ให้อ่านออกเสียงสระ อะ
(ภาษาบาลีไม่มีสระ อะ) เช่น น = นะ
๒. พินธุ ( . ) ที่อยู่ใต้พยัญชนะใด พยัญชนะตัวนั้นจะเป็นตัวสะกด
๒. พินธุ ( . ) ที่อยู่ใต้พยัญชนะใด พยัญชนะตัวนั้นจะเป็นตัวสะกด
ของตัวหน้า เช่น สนฺ = สัน
๓. นฤคหิต ( ํ ) ใช้แทนตัวสะกดแม่กง (ง) เช่น ต ํ = ตัง , ติ ํ = ติง
เช่น นตฺ ถิ สนฺติ ปรมํ สุขํ อ่านว่า นัตถิ สันติ ปะระมัง สุขัง.
๓. นฤคหิต ( ํ ) ใช้แทนตัวสะกดแม่กง (ง) เช่น ต ํ = ตัง , ติ ํ = ติง
เช่น นตฺ ถิ สนฺติ ปรมํ สุขํ อ่านว่า นัตถิ สันติ ปะระมัง สุขัง.
พุทธภาษิต อ่านเพิ่มเติม